วัดราษีไศล


ละติจูด 15.7919034857 , ลองจิจูด 103.952557833

พิกัด

ตำบลหน่อม อำเภออำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด รหัสไปรษณีย์ 45160

ประเภทแหล่งศิลปกรรมฯ

วัด วัดร้าง ศาสนสถาน

ความสำคัญ/ลักษณะ

วัดราศรไีสล ตังอยู่เลขที๖๗ บ้านฟาเลือม หมู่ที๒ ตําบลหน่อม 

อําเภออาจสามารถ จังหวัดรอ้ยเอ็ด สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ทีดินตังวัด มีเนือที๑๑ ไร่๓ งาน ๕๗ ตารางวา มีทีธรณีสงฆ์จาํนวน ๑ แปลง
เนื
ือที๑๐ ไร่ 

สิมวดัวดัราษีไศล เปนสิมเก่าแก่ มีลักษณะทางสถาปตยกรรมคล้ายกับสิม วดัขอนแก่นเหนือ สิมวดั ไตรภูมิคณาจารย์. สิมวดัหนองหมืนถ่าน วดัเสมาท่าค้อใน อ.อาจสามารถ ลักษณะเปนสิมทึบ เปนสิมอีกแห่งหนึงทีได้รับรางวลัอาคารอนุรักษ์ดีเด่น จากสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชปภัมภ์

หลวงปู่โส เป็นผู้สร้าง โดยช่างพื้นบ้านชาวเวียงจันทร์ ศิลปกรรมพื้นบ้าน แบบลาวลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่างได้รับอิทธิพลจากญวน หัวเสาและวิธีเข้าไม้คล้ายกับศิลปกรรมตะวันตกสมัย เรเนซองส์

สถานการณ์สิ่งแวดล้อม

อาคารเสนาสนะ 

ประกอบด้วย 

 ๑. อุโบสถกว้าง ๔ เมตร ยาว ๙ เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๓๑  

 ๒. ศาลาการเปรียญ กว้าง ๑๓ เมตร ยาว ๒๑ เมตร  

 ๓. กุฏิสงฆ์ จ านวน ๑ หลัง กว้าง ๑๑ เมตร ยาว ๑๕ เมตร  

ปูชนียวัตถุ 
 

๑. สถูป สร้างเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๘๕  

๒. เจดีย์ สร้างเมื่อปี พ.ศ.๒๔๗๓ 

-ประวัติการสร้างอุโบสถ 

อุโบสถวัดราศีไสลหลวงปู่โสพร้อมด้วยญาติโยมร่วมใจกันสร้างโดยหลวงปู่เองเป็นผู้ออกแบบโดยอาศัยก าลังชาวบ้านและ พระภิกษุ-สามเณรช่วยกันปั้นอิฐหาฟืนมาเผาอิฐและเผาปูน ในสมัยนั้นยังไม่มีปูนซีเมนต์ท่านให้ชาวบ้านเอาเปลือกหอยมา เผาเป็นปูนบ้างเอาหินปูนมาเผาเป็นปูนบ้างเป็นการล าบากที่สุดตลอดจนตะปูก็ไม่มีท่านหาเอาเหล็กมาตีเป็นตะปูตลอด ทรายก็ให้ชาวบ้านไปหาบมาเองลงมือก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ใช้เวลาก่อสร้างอยู่ ๓-๔ ปีก าแพงด้านนอกกว้าง x ยาว ๕  X ๑๕ เมตรตัวอุโบสถขนาดกว้าง x ยาว x สูง ๔ ๕๙ x ๔ เมตร สัณฐานเป็น รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีทางขึ้นด้านเดียวพื้นสูง  ๑.๓๐ เมตร สร้างด้วยอิฐถือปูนมีฐานย่อมุมโค้งงอนคล้ายกับบัวปั้นลมและสลักรูปนาคมีคันทวย สลักไม้เนื้อแข็งเป็นรูป พญานาคอ่อนช้อยสวยงามมากที่มุมก าแพงทั้ง ๔ ทิศมีใบเสมารูปปลายศร แต่กลาบบัวหัวเสาหลังคามุงด้วยแผ่นไม้มา เปลี่ยนเป็นสังกะสีเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๓ เมื่อจะคิดทุนทรัพย์ในการก่อสร้างในสมัยนั้น ๑๒ ต าลึง -๔๔ บาทในปัจจุบันซึ่งยัง อยู่ในสภาพที่ดีภานในอุโบสถประดิษฐานพระประธานปางมารวิชัยและยังเป็นที่ท าสังฆกรรมของสงฆ์จนถึงทุกวันนี้ 

-ประวัติการสร้างเจดีย์ 

ธาตุหรือเจดีย์ที่บรรจุอัฐิของหลวงปู่นั้นสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยหลวงปู่โสเองเป็นผู้ด าริคิดสร้างขึ้นเมื่อท่าน พิจารณาสังขารของท่านเองว่า“ ชราแล้วไม่มีทางที่จะหนุ่มแน่นกลับคืนมาอีกเสียแล้วเมื่อละสังขารลงไปเมื่อไรอัฐินี้ใครจะ ท าธาตุหรือเจดีย์ใส่ให้พวกลูกศิษย์ลูกหาก็อยู่ไกลยากที่จะมาท าให้ได้และไม่รู้ว่าจะมีใครมาท าให้หรือเปล่าเพราะเราไม่เห็น อีกเสียด้วยฉะนั้นเราท าให้เราเห็นก่อนมรณะเกิดคือให้เห็นกับตา” เมื่อคิดดังนี้แล้วท่านก็ประชุมชวนชาวบ้านลูก ๆ หลาน ๆ  พวกลูกหลานและชาวบ้านก็เห็นพร้อมทุกประการจากนั้นก็ลงมือปั้นอิฐเริ่มลงมือก่อสร้างปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ใช้เวลาก่อสร้าง อยู่ ๓ ปีในระยะนั้นปูนซีเมนต์มีแล้วแต่ไม่มากท่านใช้ปูนซีเมนต์เป็นส่วนน้อยส่วนใหญ่จะใช้ปูนที่ท าจากเปลือกหอยและ จากหินปูนขนาดก าแพงรอบนอกเป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านเท่า ๑๒ x ๑๒ เมตรตัวเจดีย์กว้าง x ยาว x สูง ๕ * ๕ * ๑๕ เมตร สัณฐานเป็นเจดีย์รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสสูง 5 ชั้นเลียนแบบพระธาตุพนมอันเป็นศิลปกรรมยอดนิยมในสมัยนั้นวัสดุในการ ก่อสร้างท่านได้ท าแบบประหยัดคือส่วนใหญ่นั้นท่านท าเองหรือท าจากเปลือกหอยบ้างจากหินปูนบ้างทรายอย่างนี้ท่านก็ให้ ชาวบ้านไปหาบเองสิ้นค้าก่อสร้างในสมัยนั้นเพียง ๕๐๐ บาทอัฐิของพระ ธ มมโสภติ (หลวงปู่โส ธ มมปาโล) เพื่อเป็น อนุสรณ์สถานเคารพของยานุศิษย์และพุทธศาสนิกชนทั่วไป

แก้ไขเมื่อ

2021-09-15

ข้อมูลสถิติ
หน่วยอนุรักษ์ฯ
ภาพประจำแหล่งศิลปกรรม
แผนงานและโครงการ
การเสนอแผนงานโครงการ
ปี แผนงาน ชื่อโครงการ รายละเอียด งบประมาณ เอกสาร สถานะ
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ
ปี แผนงาน ชื่อโครงการ งบประมาณ วันที่รายงาน เอกสาร